Saturday, February 23, 2013

Present simple tense with verbs ปัจจุบันธรรมดากับกริยา



Present simple tense with other verbs

ประโยคปัจจุบันธรรมดา กับกิริยาอื่นๆ (นอกจาก v.be)

With all other verbs, we make the present simple in the same way.
กับกิริยาตัวอื่นๆ เราก็แต่งประโยคปัจจุบันธรรมดาในแนวเดียวกัน

The positive is really easy. It's just the verb with an extra ‘s’ if the subject is ‘he’, ‘she’, or ‘it’. Let's take the verb ‘play’ as an example:
ประโยคบอกเล่าง่ายจริงๆ  มันแค่กริยาที่เสริม s  หากประธานเป็น he she it
มาแต่งประโยคด้วยกริยา play กันนะ

Positive (of 'play')
I play
you play
he plays
she plays
it plays
we play
they play

Don't forget the ‘s’! Even really advanced students do this!
ห้ามลืม  s  แม้แต่นักเรียนระดับสูงยังลืมเลย
For a few verbs, there is a spelling change before the ‘s’. For example, ‘study’ becomes ‘studies’. Click here for a list of these verbs.
สำหรับกริยาอีกไม่กี่ตัว มีการเปลี่ยนการสะกด ก่อนเติม s ตัวอย่างเช่น  study เป็น studies

There are also few verbs which are irregular in the present simple:
มีกริยาอีกสองสามตัวที่ไม่ธรรมดาในประโยคปัจจุบันธรรมดา

'have' becomes 'has
have เป็น has
'do' becomes 'does'
do เป็น does
'go' becomes 'goes'
go เป็น goes
-----------------------------------------------------------------------------------

To make the negative form, you need to use ‘do not’ (don't) or ‘ does not’ (doesn't).
แต่งรูปประโยคปฏิเสธ คุณจำเป็นต้องใช้ do not (don't) หรือ does not (doesn't)
Negative (of 'play')
I do not play I don't play
you do not play you don't play
he does not play he doesn't play
she does not play she doesn't play
it does not play it doesn't play
we do not play we don't play
they do not play they don't play

----------------------------------------------------------------------------------------------

How about the question form of the present simple tense?
แล้วรูปแบบคำถามของประโยคปัจจุบันธรรมดาล่ะ
We use ‘do’ or ‘does’ before the subject to make the 'yes / no' question:
เราใช้ do หรือ does ก่อนประธานเพื่อแต่งประโยคคำถามประเภทตอบด้วย yes / no
Yes / No questions
do I play ?
do you play ?
does he play ?
does she play ?
does it play ?
do we play ?
do they play ?

----------------------------------------------------------------------------------------------

if you'd like to make a ‘wh’ question, you just put the question word at the front:
หากต้องการแต่งประโยคคำถามประเภท wh คุณก็ต้องใส่คำถามไว้ข้างหน้า
Wh Questions
where do I play ?
what do you play ?
why does he play ?
who does she play ?
when do we play ?
how do they play ?



Prepositions of place คำเชื่อมที่เกี่ยวกับสถานที่


Prepositions of place can be difficult - here's some help about using 'at', 'in' and 'on' when you're talking about where things are.

คำเชื่อมที่เกี่ยวกับสถานที่ ใช้ยาก นี่คือความช่วยเหลือบางอย่างเกี่ยวกับการใช้ at in on เมื่อคุณกำลังคุยเกี่ยวกับสถานที่

ตัวอย่างง่ายๆ

If something is contained inside a box or a wide flat area, we use ‘in’:
ถ้าบางสิ่งอยู่ในกล่อง หรือพื้นที่ กว้าง แบน เราใช้ in
in the newspaperin a house
in a cupin a drawer
in a bottlein a bag
in bedin a car
in Londonin England
in a bookin a pub
in a fieldin the sea
in my stomachin a river

If something is on a line or a horizontal or vertical surface, we use ‘on’:
ถ้าบางสิ่งอยู่บนเส้น หรือพื้นพิวแนวนอน แนวตั้ง เราใช้ on
on the tableon the wall
on the flooron the fridge
on my faceon a plate
on the pageon the sofa
on a chairon a bag
on the riveron a t-shirt
on the ceilingon a bottle
on a bikeon his foot
If something is at a point, (it could be a building) we use ‘at’:
ถ้าบางสิ่งอยู่ ณ ตำแหน่ง อาจจะเป็นตึก อาคารก็ได้ เราใช้ at
at the airportat the door
at the tableat the bus stop
at the cinemaat at the top
at the bottomat the pub
at the traffic lightsat the front
at the backat school
at universityat the window
at the hospitalat the piano
Here are some more common ones that don’t really fit: 
นี่คือคำเชื่อมทั่วไปอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งไม่จำกัดจริงๆ 
 • on TV • on the bus • on a train • on a plane • on the radio • at home • at work

Prepositions of time คำเชื่อมต่อที่เกี่ยวกับเวลา





Prepositions of time - here's a list of the time words that need 'on', 'in', 'at' and some that don't need any preposition. Be careful - many students of English use 'on' with months (it should be 'in'), or put a prepostion before 'next' when we don't need one.

สันธาน (คำเชื่อม) ของเวลา นี่คือรายการคำพูดที่เกี่ยวกับเวลา ที่จำเป็นต้องใช้  on in at และบางคำที่ไม่ต้องการคำเชื่อมใด ๆ  ขอให้ระมัดระวังนิดหนึ่ง นักเรียนภาษาอังกฤษบางส่วน ใช้ on  เดิอน ซึ่งมันควรจะเป็น in

at ตัวอย่างการใช้ at
times: at 8pm, at midnight, at 6:30
holiday periods: at Christmas, at Easter
at night
at the weekend
at lunchtime, at dinnertime, at breakfast time

on การใช้  on
days: on Monday, on my birthday, on Christmas Day
days + morning / afternoon / evening / night: on Tuesday morning
dates: on the 20th of June

in การใช้ in
years: in 1992, in 2006
months: in December, in June
decades: in the sixties, in the 1790s
centuries: in the 19th century
seasons: in winter, in summer
in the morning, in the afternoon, in the evening

คำที่ไม่จำเป็นต้องใช้ สันธานหรือคำเชื่อม
next week, year, month etc
last night, year etc
this morning, month etc
every day, night, years etc
today, tomorrow, yesterday

Thursday, February 21, 2013

How do we make the Present Simple Tense?




How do we make the Present Simple Tense?

เราสร้าง(เขียน)ประโยคปัจจุบันธรรมดาได้อย่างไร

There are three important exceptions:
มีกฏกติกา ที่สำคัญ 3 ข้อ ดังนี้ 

For positive sentences, we do not normally use the auxiliary.
สำหรับประโยค บอกเล่าธรรมดม ตามปกติ เราไม่ใช้กริยาช่วย

For the 3rd person singular (he, she, it), we add s  or esto the main verb  or  to the auxiliary.
สำหรับบุคคลที่สาม ที่เป็นเอกพจน์ (เขา หล่อน มัน) เราเติม  s  หรือ  es ที่กริยาหลัก หรือกิริยาช่วย


For the verb to be, we do not use an auxiliary, even for questions and negatives.
สำหรับ กิริยา V. be  เราไม่ใช้กริยาช่วย แม้ว่าจะเป็นประโยคคำถามหรือปฏิเสธก็ตาม


How do we use the Present Simple Tense?

เราใช้ประโยคปัจจุบันธรรมดา อย่างไร

We use the present simple tense when:
เราใช้ประโยคปัจจุบันธรรมดา เมื่อ
  • the action is general/การกระทำนั่นเป็นการกระทำทั่วไป

  • the action happens all the time, or habitually, in the past, present and future / การกระทำที่เกิดขึ้นตลอดเวลา หรือเป็นนิสัย ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต

  • the action is not only happening now / การกระทำ ที่ไม่ได้กำลังเกิดขึ้่นในขณะนั้นเท่านั้น

  • the statement is always true สถานการณ์ที่เป็นจริงเสมอไป

Look at these examples:  ดูตัวอย่างเหล่านี้
  • I live in New York. / ฉันอยู่ในนิวยอร์ค
  • The Moon goes round the Earth. / ดวงจันทร์โคจรรอบโลก
  • John drives a taxi. / จอห้นขับแท็กซี่
  • He does not drive a bus. / เขาไม่ได้ขับรถบัส
  • We meet every Thursday. / เราเจอกันทุกวันพฤหัสบดี
  • We do not work at night. /  เราไม่ได้ทำงานตอนกลางคืน
  • Do you play football? / คุณเล่นฟุตบอลหรือเปล่า


การใช้ Past tense





Past simple: I worked
อดีตธรรมดา  ฉันทำงานแล้ว

Past continuous: I was working
อดีตต่อเนื่อง   ฉันได้กำลังทำงานแล้ว

Past perfect: I had worked
อดีตสมบูรณ์  ฉันได้ทำงานเรียบร้อยแล้ว (หมายถึงเพิ่งทำงานเสร็จไปเมื่อหยกๆ นี้เอง)

Past perfect continuous: I had been working
อดีตสมบูรณ์ต่อเนื่อง ฉันได้กำลังทำงานอยู่

We use these forms เราใช้รูปแบบเหล่านี้

to talk about the past: เพื่อพูดเรื่องทีเป็นอดีต ล่วงมาแล้ว

He worked at McDonald’s. He had worked there since July..
เขาทำงานที่ร้านแม็คโดนัลด์ เขาได้ทำที่นั่นมา ตั้งแต่ เดือน กรกฏาคมแล้ว

He was working at McDonald’s. He had been working since July.
เขาได้กำลังทำงานที่ร้านแมคฯ เขาได้กำลังทำงานตุั้งแต่เดือนกรกฏาคม

to refer to the present or future in conditions:
อ้างอิงตามปัจจุบัน หรืออนาคต ตามเงื่อนไข

He could get a new job if he really tried. คงคงจะได้งานใหม่ หากว่าเขาเหนื่อยจริงๆ

If Jack was playing they would probably win. ถ้าแจ็คกำลังเล่นอยู่ พวกเขาคงจะชนะแน่


and hypotheses: และสมมุติฐาน (คาดการณ์)

It might be dangerous. Suppose they got lost.
มันน่าจะอันตราย คาดว่า พวกเขาคงจะหลงทางแล้ว

I would always help someone who really needed help.
ฉันจะช่ววยคนที่เขาต้องการความช่วยเหลือจริงๆ เสมอ

and wishes: และการตั้งความปรารถนา

I wish it wasn’t so cold.
ฉันภาวนาให้มันไม่หนาวมากไป

In conditions, hypotheses and wishes, if we want to talk about the past, we always use the past perfect:
ในเงื่อนไข สมมุติฐาน(คาดการณ์) และการตั้งความปราถนา ถ้าเราต้องการคุยเกี่ยวเรื่องอดีต เราใช้ประโยค Past perfect ได้

I would have helped him if he had asked.
ฉันคงช่วยเขาถ้าเขาขอความช่วยเหลือ (เหตุเกิดไปแล้ว พูดทีหลัง)

It was very dangerous, What if you had got lost?
มันอันตรายมาก นั่นทำให้คุณหลงทางใช่ไหม

I wish I hadn’t spent so much money last month.
เดือนที่แล้วฉันปรารถนาให้ฉันไม่ต้องใช้เงินเยอะ (พูดเพราะเสียดายเงินที่ใช้ไปแล้ว)


การใช้ Past tense





Past simple: I worked
อดีตธรรมดา    ฉันทำงานแล้ว

Past continuous: I was working
อดีตต่อเนื่อง            ฉันได้กำลังทำงานแล้ว

Past perfect: I had worked
อดีตสมบูรณ์    ฉันได้ทำงานเรียบร้อยแล้ว (หมายถึงเพิ่งทำงานเสร็จไปเมื่อหยกๆ นี้เอง)

Past perfect continuous: I had been working
อดีตสมบูรณ์ต่อเนื่อง        ฉันได้กำลังทำงานอยู่

We use these forms เราใช้รูปแบบเหล่านี้

to talk about the past: เพื่อพูดเรื่องทีเป็นอดีต ล่วงมาแล้ว

He worked at McDonald’s. He had worked there since July..
เขาทำงานที่ร้านแม็คโดนัลด์ เขาได้ทำที่นั่นมา ตั้งแต่ เดือน กรกฏาคมแล้ว

He was working at McDonald’s. He had been working since July.

to refer to the present or future in conditions:
He could get a new job if he really tried.
If Jack was playing they would probably win.

and hypotheses:

It might be dangerous. Suppose they got lost.
I would always help someone who really needed help.

and wishes:

I wish it wasn’t so cold.

In conditions, hypotheses and wishes, if we want to talk about the past, we always use the past perfect:
I would have helped him if he had asked.
It was very dangerous, What if you had got lost?
I wish I hadn’t spent so much money last month.

Wednesday, February 20, 2013

If-clause (Conditional Sentences) ประโยคเงือนไข




If-clause (Conditional Sentences)

If – clause คือ ประโยคที่เงื่อนไขหรือสมมติ จะมีส่วยประกอบ 2 ส่วน คือ

ประโยคที่แสดงเงื่อนไข (if – clause)
ประโยคที่แสดงผลของเงื่อนไข (main clause)

เช่น  If I have much money, I will buy a new car. (ถ้าฉันมีเงินเยอะ ฉันจะซื้อรถใหม่)


If – clause (Conditional Sentences) จะมี 3 แบบ คือ

1. Present Possible 

a.     if + Present Simple, present simple      If +…V1, ...V1
เราจะใช้กับเหตุการณ์ที่เป็นจริงตามธรรมชาติ เป็นความจริง ตามหลักวิทยาศาสตร์

-  If you turn to the east, you see the sun rising.
ถ้าคุณหันหน้าไปทางทิศตะวันออก คุณก็จะเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น (หมายถึงหันหน้าไปยามเช้านะครับ ไม่เกี่ยวกับยามเย็น ถ้าหันไปยามเย็น ก็คงไม่เห็นอะไร เพราะดวงอาทิตย์มันไปอยู่ข้างหลังเราแล้ว)

-  If the water becomes into ice, the temperature is – 0°c.
ถ้าน้ำกลายเป็นน้ำแข็ง อุณหภูมิก็ติดลบ ศูนย์ องศาเซลเซียส

b.      if + Present Simple, Future Simple       If + .……V1, …. will V1…….
เราจะใช้กับเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

-  If mother comes back, I will tell you.
ถ้าแม่กลับมา ฉันจะบอกคุณ

-  If I have a new dress, I will go to the party.
ถ้ามันมีชุดใหม่ ฉันจะไปงานเลี้ยง

c.      if + Present Simple, imperative (V1)          เราจะใช้ในประโยคคำสั่งนะ

-  If father comes, tell me immediately.
ถ้าพ่อมา ให้บอกฉันทันทีเลยนะ

-    Don’t sleep in the class, If Miss King teaches.
ห้ามหลับในห้องเรียน ถ้ามิสคิง สอน


2. Present Unreal   ใช้กับการสมมุติในเหตุการณ์ที่เป็นไปไม่ได้ในปัจจุบัน

If + Past Simple, would/ could/ should + V1
If + ………V2..……would/ could/ should + V……….

-  If I had an airplane, I would fly around the world.
ถ้ามันมีเครื่องบิน ฉันคงจะบินไปรอบโลก

-  If I saw him, I would ask him.
ถ้าฉันพบเขา ฉันจะถามเขา

3. Past Unreal         ใช้กับการสมมุติในเหตุการณ์ที่เป็นไปไม่ได้ในอดีต

If + Past Perfect, would/ could/ should + have + V3
If +…..had + V3……would/ could/ should + have + V3……..
           
-     If you had eaten fat and carbohydrate less, you would have been thin.
ถ้าคุณกินไขมัน และคาร์โบไฮเตรดน้อยหน่อย คุณคงจะผม


Had to เป็นรูป if – clause แบบที่ 3 
(If + Past Perfect, would have + V3)
Had + S + V3, would have + V3
-          If  Adam had got up early, he wouldn’t have missed  the bus.
           Had Adam got up early, he wouldn’t have missed the bus.
ถ้าอดัมตื่นแต่เข้า เขาคงไม่พลาดรถบัสหรอก

-          If the weather had been good, I would have swum.
           Had the weather been good, I would have swum.
ถ้าอากาศดี ฉันคงจะไปว่ายน้ำ


การใช้ Unless มีความหมายว่า if…not (ถ้าไม่)
-          If I don’t study hard I won’t pass the exam.
            Unless I study hard, I wouldn’t pass the exam.
ถ้าฉันไม่เรียนให้หนัก ฉันคงสอบไม่ผ่าน
เวันแต่ว่า ฉันต้องเรียนให้หนัก ไม่งั้น ฉันคงสอบไม่ผ่าน

-          If I didn’t have parents, I wouldn’t study in a university.
           Unless I had parents, I wouldn’t study in a university.
ถ้าฉันไม่มีผู้ปกครอง ฉันคงไม่เรียนในมหาวิทยาลัย
เวันแต่ว่าฉันมีผู้ปกครอง ไม่แล้ว ฉันคงจะไม่เรียนที่มหาวิทยาลัย


-          If I hadn’t forgotten a purse, I wouldn’t have borrowed you some money.
            Unless I had forgotten a purse, I wouldn’t have borrow you some money.  
ถ้าฉันไม่ลืมกระเป๋า ฉันคงจะไม่ต้องขอยืมเงินคุณหรอก
เวันแต่ว่าฉันลืมกระเป๋า ไม่เช่นนั้นแล้ว ฉันคงไม่ต้องขอยืมเงินคุณ

การใช้ some และ any




Some, Any = บ้าง

Some = a little, a few or a small number or amount หมายถึง เล็กน้อย สองสาม หรือไม่ก็ตัวเลขเล็กน้อย หรือ จำนวนน้อยๆ 

Any = one, some or all  หนึ่ง บางส่วน หรือทั้งหมดก็ได้

Usually, we use some in positive (+) sentences and any in negative (-) and question (?) sentences.

ตามปกติ เราใช้ some ในประโยคบอกเล่า และ any ในประโยคปฏิเสธ หรือ คำถาม


Example/ยกตัวอย่าง

  • He needs some stamps. /เขาต้องการแสตมป์บ้าง
  • I must go. I have some homework to do. / ฉันต้องไป ฉันมีการบ้านที่ต้องทำ หมายถึงมีการบ้านบ้าง แต่ไม่เยอะ หรือว่าน้อย
  • I'm thirsty. I want something to drink. /ฉันหิวน้ำ ฉันต้องการบางอย่างมาดื่ม
  • I can see somebody coming. /ฉันมองเห็นใครบางคนกำลังมา
  • He doesn't need any stamps./คุณไม่จำเป็นต้องใช้สแตมป์ใดๆเลย
  • I can stay. I don't have any homework to do./ฉันสามารถบอกได้เลยว่า ฉันไม่มีการบ้านใดๆ ให้ทำเลย
  • I'm not thirsty. I don't want anything to drink./ฉันไม่หิวน้ำ ฉันไม่ต้องการดื่มอะไร
  • I can't see anybody coming. ฉันไม่เห็นใครมาสักคน
  • Does he need any stamps?  เขาต้องการแสตมป์ใดๆ บ้างไหม
  • Do you have any homework to do? คุณไม่มีการบ้านใดๆ ที่ต้องทำหรือ
  • Do you want anything to drink? ต้องการดื่มอะไรไหม
  • Can you see anybody coming? คุณเห็นใครมาบ้างหรือเปล่า




การใช้ many, few, much and little




มันขึ้นอยู่กับปริมาณของสิ่งที่เอ่ยถึง

1. Use many and few for countable nouns. / ใช้ many และ few สำหรับคำนามที่นับได้


I have many/few friends. 
ฉันมีเพื่อนมากมาย/สองสามคน

There are many more opportunities waiting for you. 
มีความเป็นไปได้มากกว่าสำหรับการรอคุณ

2. Use much and little for uncountable nouns / ใช้ much และ little สำหรับนามที่นับไม่ได้

She has much/little money in the bank. 
เธอมีเงินเยอะ/นิดหน่อยในธนาคาร

There is much more pollution in the city. 
มีมลภาวะมากมายในเมือง


3. Use "a lot of" and "lots of" for both countable and uncountable nouns. Use "is/was" for uncountable and "are/were" for countable nouns. 
ใช้ a lot of  กับ lots of  สำหรับนามที่นับได้ และนับไม่ได้
ใช้     is/was  กับนามที่นับไม่ได้
ใช้    are/were กับนามที่นับได้


I have lots of things to do today. ฉันมีสิ่งที่ต้องทำมากมายในวันนี้
You'll be in lot of trouble if you get caught.  คุณจะมีปัญหาเยอะแยะ หากถูกจับ
There is a lot of crime in Manhattan. มีอาชญากรรมมากมายในแมนฮัตตั้น
There are a lot of cars on the road at this hour. มีรถมากมายบนท้องถนนในชั่วโมงนี้
There is a lot more pollution in the city than in the country. มีมลภาวะใหตัวเมืองมากกว่าชนบท
There are a lot more people now than last week.ตอนนี้ มีคนมากกว่าสัปดาห์ก่อน